การสร้างโบสถ์คริสตจักรก็เป็นการเผยแผ่ศาสนาอีกวิธีหนึ่ง
เมื่อแรกมาถึงยังไม่ได้สร้างคริสตจักรถาวร ผู้แทนเจ้าหลวงเชียงใหม่อนุญาตให้พักอยู่ที่ศาลาพักสาธารณะสำหรับประชาชนซึ่งตั้งอยู่บริเวณประตูเมืองทางด้านทิศตะวันออก ศาลาพักหลังนี้สร้างโดยข้าราชการเมืองระแหง ที่สร้างเพื่อเป็นการทำบุญตามประเพณีในพุทธศาสนา เป็นศาลาที่สร้างอย่างมั่นคงแข็งแรง หลังคามุงกระเบื้อง พื้นศาลาปูด้วยไม้สักอย่างดี คณะมิชชันนารีได้ใช้ศาลาแห่งนี้เป็นที่อยู่อาศัยและเป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่ศาสนาเป็นเวลาปีกว่า ก่อนสร้างคริสตจักรถาวรคือ คริสตจักรเพรสไบทีเรียนที่ 1 เชียงใหม่ บนถนนเชียงใหม่-ลำพูน
การมามุงดูของชาวเมืองก็มีประโยชน์อยู่บ้างคือ การได้พูดคุยพร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาไปด้วยมีผู้หญิงตัวขาวและเด็กด้วย หมู่เฮาต้องไปดูกัน เวลาที่ชาวบ้านชอบมากคือ เวลารับประทานอาหาร เพราะอยากดูว่า ฝรั่งกินอย่างไร กินอะไร พวกเราแทบไม่มีเวลาตอนกลางวัน วันใดเลยที่จะได้นั่งรับประทานอาหารอย่างเงียบๆ โดยไม่มีผู้จ้องดู ชาวบ้านต่างพูดกันว่า พวกฝรั่งไม่นั่งกินข้าวบนพื้นหรือใช้มือกินแบบพวกเรา ซึ่งเป็นการที่ หมู่เฮาต้องไปดูกันศาสนาจารย์เดเนียล แมคกิลวารี เล่าอย่างขบขันถึงความรู้สึกของชาวเมืองที่เห็นพวกตนเดินทางขึ้นมาเผยแผ่ศาสนาว่า ในปี พ.ศ. 2411 พระเจ้ากาวิโลรส สุริยวงศ์ ได้ยกพื้นที่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงให้กับคณะมิชชันนารี ทางคณะมิชชันนารีจึงได้ใช้พื้นที่นี้สร้างคริสตจักรเพรสไบทีเรียนที่ 1 เชียงใหม่ ระยะแรกสร้างเป็นอาคารไม้ไผ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2432-2434 ได้มีรื้ออาคารไม้ไผ่ และสร้างอาคารหลังใหม่เป็นอาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกหลังแรกในเชียงใหม่ ออกแบบและก่อสร้างโดย ดร. มาเรียน เอ.ชีค.
ในปีพ.ศ. 2413 พระเจ้ากาวิโลรส สุริยวงศ์ถึงแก่พิราลัย จากปัจจัยดังกล่าวทำให้มีคนเข้ามานับถือคริสต์ศาสนาเพิ่มมากขึ้นถ้าผู้ใดจะชอบใจถือศาสนาใด ก็ให้ผู้นั้นถือได้ตามชอบใจทำให้มีผู้คนกลัวกันมากจนไม่มีใครกล้านับถือศาสนาคริสต์อีก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2412 มีการออกพระราชกฤษฎีกาของเจ้าพระยาเทพวรชุน ที่ปรึกษาราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความว่า การละทิ้งศาสนาประจำชาติ เป็นกบฏต่อฉัน จึงต้องลงโทษอย่างนี้การทำงานในระยะแรกทำควบคู่ไปกับการรักษาพยาบาลแผนใหม่ โรคสำคัญที่เป็นกันมากคือไข้มาเลเรียเรื้อรัง โรคคอหอยพอก และไข้ทรพิษ การรักษาพยาบาลทำให้คณะมิชชันนารีมีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับมาก จนอาจกล่าวได้ว่าการเผยแผ่ศาสนาในระยะแรกนั้นไม่ค่อยได้ผลมากเท่ากับการรักษาพยาบาล ทั้งนี้เพราะทางการเองมิได้ให้การสนับสนุนมากนัก จะเห็นได้จากในวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2411 พระเจ้ากาวิโลรส สุริยวงศ์ สั่งประหารหนานชัย และน้อยสุริยะ 2 ใน 7 คนของผู้นับถือศาสนาคริสต์ในเชียงใหม่ขณะนั้น โดยอ้างว่า